Skip to main content
sharethis

หมายเหตุประเพทไทยสัปดาห์นี้อธิบายนิยามของคำว่า “ผู้ลี้ภัย” “คนพลัดถิ่น” “แรงงานข้ามชาติ” ฯลฯ พร้อมแนะนำบทความ “What is refugee history, now?” (2021) เผยแพร่โดย Cambridge University Press ที่อธิบายถึงงานศึกษาด้านผู้ลี้ภัยที่เดิมเป็นเพียงแขนงย่อยของศาสตร์แขนงหลักอย่างกฎหมายระหว่างประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มานุษยวิทยา ความสนใจเรื่องผู้ภัยศึกษาแต่เดิมก็สนใจว่าจะแก้ไขปัญหาอย่างไร หรือจะช่วยเหลืออย่างไร นอกจากนี้การนิยามเรื่องผู้ลี้ภัยก็เป็นไปแบบเอายุโรปเป็นศูนย์กลางหรือ eurocentrism อย่างไรก็ตามปัจจุบันมีมีแนวทางศึกษาที่ยึดตัวตนของของผู้ลี้ภัยเป็นหลัก โดยถือว่าผู้ลี้ภัยมีความคิด มีตัวตน มีความรู้สึก และเป็นตัวแสดงที่สำคัญ มีงานศึกษาผู้ลี้ภัยทั้งแบบชาติพันธุ์วรรณาและผ่านการศึกษาจดหมายเหตุของผู้ลี้ภัยมากขึ้น เป็นต้น

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไท ได้ทุกช่องทาง Facebook, X/Twitter, Instagram, YouTube, TikTok หรือสั่งซื้อสินค้าประชาไท ได้ที่ https://shop.prachataistore.net