Skip to main content
sharethis

ชานันท์ ยอดหงษ์ พูดคุยกับ ศิริวุฒิ บุญชื่น เจ้าหน้าที่หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงอิทธิพลในช่วงก่อนและหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ที่แนวทางนำเสนอภาพยนตร์ไทยช่วงนั้นซึ่งค่อยๆ เริ่มปรากฏตัวตนของคนชายขอบ คนยากคนจน คนสู้ชีวิตในฉากภาพยนตร์ โดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล นับว่าเป็นผู้กำกับที่บุกเบิกแนวทางภาพยนตร์สะท้อนสังคมในไทย อย่าง เขาชื่อกานต์ (2516) ทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้น (2520) นอกจากนี้ยังมีเปี๊ยก โปสเตอร์ ผู้กำกับเรื่อง "โทน" (2513)  สักกะ จารุจินดา ผู้กำกับเรื่อง "ตลาดพรหมจารีย์" (2516) และอาจจะรวมถึง ยุทธนา มุกดาสนิท และคณะที่กำกับภาพยนตร์สะท้อนผลกระทบจากเขื่อนและการพัฒนาอย่างเรื่อง ทองปาน (2520)

หนังยุค 70s และภาพสะท้อนชีวิตคนยาก | หมายเหตุประเพทไทย EP.248, 10 ก.พ. 2562

ติดตามรายการหมายเหตุประเพทไทยย้อนหลังที่
เฟสบุ๊ค
https://www.facebook.com/maihetpraphetthai
YouTube เพลยลิสต์ หมายเหตุประเพทไทย
หรือลงทะเบียนรับชมที่ https://youtube.com/prachatai

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไท ได้ทุกช่องทาง Facebook, X/Twitter, Instagram, YouTube, TikTok หรือสั่งซื้อสินค้าประชาไท ได้ที่ https://shop.prachataistore.net