Skip to main content
sharethis
Event Date

 

กำหนดการ

การประชุมรับฟังข้อมูลจากเครือข่ายชุมชนท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากแผนพัฒนาพลังงานระดับประเทศ และภูมิภาค

21 มกราคม 2556

ห้องประชุม 3 ชั้น 6  อาคารสภาคริสตจักรในประเทศไทย สะพานหัวช้าง กรุงเทพฯ  

ความเป็นมา

จากกระบวนการรับฟังความเห็นของธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) และที่ปรึกษาจากศูนย์ระหว่างประเทศเพื่อการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม (ICEM) ในการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) สำหรับแผนพลังงานของอนุภูมิภาคแม่น้ำโขง (GMS master power plan) และเปรียบเทียบกับแผนทางเลือก (scenarios)  จึงมีการจัดประชุมรับฟังความเห็นซึ่งถูกจัดขึ้นในภูมิภาคแม่น้ำโขง รวมทั้งประเทศไทย อย่างไรก็ตาม จากกระบวนการรับฟังความคิดเห็นในไทย เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2555 สะท้อนให้เห็นว่า กระบวนการดังกล่าวต้องการข้อมูลจากชุมชนซึ่งได้รับผลกระทบจากแผนพลังงานในระดับประเทศและภูมิภาค ชุมชนท้องถิ่นควรมีโอกาสส่งเสียงประสบการณ์และความห่วงใยของพวกเขาที่มีต่อโครงการพลังงานที่ดำเนินการอยู่ในขณะนี้ และโครงการกำลังได้รับการเสนอ ในขณะเดียวกันก็แสดงความเห็นต่อการประเมินผลกระทบของแผนพลังงานที่ทางทีมวิจัย ICEM จากเอดีบีกำลังศึกษาอยู่

เครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาแม่น้ำโขง (มีเนท) จึงจัดการประชุมเชิงปฎบัติการเพื่อรับฟังความเห็นจากเครือข่ายท้องถิ่น ด้วยการสนับสนุนจากมูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  และองค์กรร่วมจัด ซึ่งประกอบด้วย  มูลนิธินโยบายสุขภาวะ  สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ศูนย์แม่โขงศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์

1.    เพื่อให้เสียงของประชาชนผู้ได้รับผลกระทบโดยโครงการพลังงานทั้งในระดับประเทศและภูมิภาคได้ส่งไปยังธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB)  ซึ่งมีบทบาทในการเป็นผู้ขับเคลื่อนโครงการด้านพลังงานในภูมิภาคแม่น้ำโขง

2.    เพื่อเปิดพื้นที่ให้กับประชาชนมากขึ้นในการเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนพลังงานทั้งระดับประเทศ และระดับภูมิภาค

3.    เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และผลจากการพัฒนาในภาคพลังงาน ให้สาธารณะได้มีความเข้าใจ

ผู้เข้าร่วม

1.    ทีมวิจัยการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์

2.    องค์กรทื่ทำงานอยู่ในประเทศลุ่มแม่น้ำโขง และในระหว่างประเทศ

3.    ตัวแทนภาครัฐที่ทำงานด้านกระบวนการวางแผน การกำกับกิจการพลังงาน องค์กรจัดหาไฟฟ้า สถาบันวิจัย และสถาบันการศึกษาด้านพลังงาน

4.    ชุมชนท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากโครงการพลังงานที่อยู่ในแผนพีดีพี องค์กรภาคประชาสังคม และประชาชน

 

ภาคเช้า

9.00 น. -9.30 น.

วัตถุประสงค์ และขอบเขตการประชุมเชิงปฎิบัติการ

 

 

 

สรุปการศึกษา ‘ความยั่งยืนของการพัฒนาพลังงานระดับอนุภูมิภาคแม่น้ำโขง’ ของ ศูนยระหว่างประเทศเพื่อการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม (ICEM) และ

สมาคมให้คำปรึกษาด้านเศรษฐกิจ (ECA)

 

ภาพรวมของชุมชนที่ได้รับผลกระทบโดยแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า (แผนพีดีพี)

วิฑูรย์ เพิ่มพงศเจริญ

เครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาแม่น้ำโขง (มีเนท)

 

Peter-John Meynell

หัวหน้าทีมวิจัยการประเมินผลกระทบ

สิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ (SEA) ของเอดีบี

 

ชื่นชม สง่าราศี กรีเซน

กลุ่มพลังไท

9.30 น. -10.40 น. am               

 

อภิปราย 1:  แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้า (แผนพีดีพี)  การพัฒนาพลังงานและอุตสาหกรรม และการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessments: HIA) ระดับนโยบายและระดับโครงการ:  

 

ธรรมาภิบาลของกระบวนการวางแผนพีดีพี และกลไกสำหรับ      การประเมินผลกระทบในระดับนโยบาย: กรอบและตัวชี้วัดใน      การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ

 

ความเสี่ยง และผลกระทบทางสุขภาพ ผลพวงจากการพัฒนาอุตสาหกรรมและโรงไฟฟ้า โดยเฉพาะกรณีโรงไฟฟ้าก๊าซ และถ่านหิน รวมทั้งความเสี่ยงจากมลพิษทางรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

 

 

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพโดยชุมชน (Community Health Impact Assessment: CHIA) กรณีโรงไฟฟ้าถ่านหินเขาหินซ้อน        จ.ฉะเชิงเทรา

 

ดำเนินรายการโดย กฤติกา เลิศสวัสดิ์

นักวิจัยด้านกฎหมาย

 

 

ดร.เดชรัตน์ สุขกำเนิด

มูลนิธินโยบายสุขภาวะ

 

 

แพทย์หญิงฉันทนา ผดุงทศ

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค

กระทรวงสาธารณสุข

 

นันทวัน หาญดี

เครือข่ายติดตามผลกระทบโรงไฟฟ้าถ่านหินตำบลเขาหินซ้อน (คตฟ.)

10.40 น.-10.55 น.

ความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วม

 

10.55 น.-11.10 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

11.10 น.-12.15 น.           

อภิปราย 2: การลงทุนสายส่ง: โครงการที่ได้รับการสนับสนุนทั้งในระดับประเทศและภูมิภาคซึ่งมีผลกระทบต่อพื้นที่ในท้องถิ่น 

คนในชุมชนขาดการเข้าถึงข้อมูลและไม่สามารถมีอำนาจการตัดสินใจทั้งที่ยังคงมีคำถามเกี่ยวกับโครงการ ทั้งเรื่องการรุกที่ดิน และผลทางสุขภาพเช่น จากสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น

·       แผนสายส่งของเดอีบี ภายใต้โครงการของอนุภูมิภาคแม่น้ำโขง 

 

 

 

·       โครงการสายส่ง 500 กิโลโวลต์ ใน จ.อุดรธานี ระหว่างประเทศไทยและลาว (น้ำพอง 2-อุดรธานี3)

 

·       ผลกระทบจากโครงการสายส่งใน จ.น่าน: เชื่อมต่อระหว่างโรงไฟฟ้าหงสาลิกไนต์ และโรงไฟฟ้าแม่เมาะ

 

ดำเนินรายการโดย ส.รัตนมณี พลกล้า                                                    นักกฎหมายจากศูนย์ข้อมูลชุมชน

 

 

 

Oliver Wastie 

เครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาแม่น้ำโขง (มีเนท)

 

ไพเราะ สุจินพรัหม

ศูนย์ข้อมูลสิทธิมนุษยชนและสันติภาพอีสาน

 

สถาพร สมศักดิ์

สำนักเครือข่ายทรัพยากร ป่าชุมชนและเกษตรยั่งยืน จ.น่าน

12.15 น.-12.30 น.

ความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วม

 

 

ภาคบ่าย

13.30 น.-14.40 น.

 

อภิปราย 3: ผลกระทบจากการพัฒนาพลังงานน้ำขนาดใหญ่ และบทเรียนจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง:  การปรับตัวที่เป็นไปได้ยากแม้เวลาจะผ่านมายาวนาน

 

·         การวิจัยผลกระทบจากโครงการพลังงานน้ำในลุ่มแม่น้ำโขงของชุมชนใน 7 จังหวัดริมฝั่งแม่น้ำโขง และประสบการณ์จากการติดตามโครงการเขื่อนในแม่น้ำสาละวิน      

 

·       บทเรียนจากเขื่อนปากมูน: สองทศวรรษผ่านไปกับวิถีชีวิตของประชาชนที่ไม่ได้รับการฟื้นฟู

 

·         เสียงจากชุมชน 7 จังหวัดริมแม่น้ำโขง

 

ดำเนินกรายการโดย เพียรพร ดีเทศน์

องค์การแม่น้ำเพื่อชีวิต

 

 

มนตรี จันทนวงศ์

โครงการฟื้นฟูนิเวศในภูมิภาคแม่น้ำโขง (TERRA)

 

สมภาร คืนดี

ศูนย์ภูมิปัญญาไทบ้าน

 

อ้อมบุญ ทิพย์สุนา

เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำบลลุ่มน้ำโขง

14.40 น.-14.55 น.

ความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วม

 

14.55 น.-15.05 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15.05 น.-15.55 น.

 

อภิปราย 4:  ข้อห่วงใยเกี่ยวกับเทคโนโลยีซึ่งถูกกล่าวว่าเป็นเทคโนโลยีในอนาคต: โรงไฟฟ้าชีวมวล และโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

 

               

·        โครงการพลังงานหมุนเวียนจำเป็นต้องมีการจัดการที่มีประสิทธิภาพและการประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ: กรณีตัวอย่าง โรงไฟฟ้าชีวมวล ในจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย

        

·        โครงการนิวเคลียร์ ซึ่งขาดข้อมูลที่เพียงพอ และขาดการตัดสินใจอย่างมีส่วนร่วม

 

ดำเนินรายการโดย สมพร เพ็งคำ

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)

 

วิจิตรา ชูสกุล

มูลนิธิพัฒนาอีสาน

  

 

 

สดใส สร่างโศรก

เครือข่ายคนไทยไม่เอาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์      จ.อุบลราชธานี

15.55 น.-16.45 น.

สรุปประเด็นสำคัญของปัญหา และพูดคุยแลกเปลี่ยนเพือสรุปข้อเสนอแนะ

 

 

ทางเลือกสำหรับกระบวนการวางแผนพัฒนาพลังงาน และแผนพีดีพี

 

 

 

 

ข้อสังเกตของทีมจัยของเอดีบี และผู้แทนจากองค์กรของรัฐ

และ เปิดให้ผู้เข้าวร่วมแสดงความคิดเห็น

 

ดำเนินรายการโดย วิฑูรย์ เพิ่มพงศเจริญ

เครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาแม่น้ำโขง (มีเนท)

 

ชื่นชม สง่าราศี กรีเซน

กลุ่มพลังไท และ

ดร.เดชรัตน์ สุขกำเนิด

มูลนิธินโยบายสุขภาวะ

 

ผู้ดำเนินรายการ

 

หมายเหตุ:  เนื่องจากการประชุมจะใช้ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ แต่จะมีการแปลภาษาด้วย (รับเครื่องแปลได้ที่โต๊ะลงทะเบียน โปรดเตรียมบัตรประชาชนเพื่อรับเครื่องแปล)

 

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไท ได้ทุกช่องทาง Facebook, X/Twitter, Instagram, YouTube, TikTok หรือสั่งซื้อสินค้าประชาไท ได้ที่ https://shop.prachataistore.net